AN UNBIASED VIEW OF กินอะไรช่วยลดไขมันในเลือด

An Unbiased View of กินอะไรช่วยลดไขมันในเลือด

An Unbiased View of กินอะไรช่วยลดไขมันในเลือด

Blog Article

          ดอกอัญชันมีสารสำคัญคือ แอนโทไซยานิน ซึ่งมีส่วนช่วยกระตุ้นการไหลเวียนของโลหิต โดยเฉพาะในหลอดเลือดฝอย จึงทำให้เลือดไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้เพียงพอ เช่น หากไปเลี้ยงบริเวณรากผมจะทำให้ผมดกดำ เงางาม หรือถ้าไปเลี้ยงบริเวณดวงตาก็จะช่วยบำรุงสายตาไปด้วยในตัว แต่เนื่องจากอัญชันมีฤทธิ์ละลายลิ่มเลือดที่อาจไปยับยั้งการรวมตัวของเกล็ดเลือด ดังนั้นคนที่มีโรคประจำตัว ต้องกินแอสไพริน หรือวาร์ฟาริน เพื่อต้านการแข็งตัวของเลือด ไม่ควรกินอาหารที่ผสมสีของอัญชัน

อาหารช่วยเลิกบุหรี่ ลดความอยาก ปอดแข็งแรงสุขภาพที่ดี

หัวข้อที่น่าสนใจเกี่ยวกับยาลดไขมัน

 เลือกกินอย่างไร ? ให้ห่างไกลโรคไขมันในเลือดสูง

          สำหรับช่วงเวลาเร่งรีบ อาหารจานเดียวก็ตอบโจทย์สุด ๆ ใช่ไหมคะ และอาหารจานเดียวไขมันต่ำ คนมีภาวะไขมันสูงกินได้ก็มีไม่น้อยนะ เช่น ข้าวต้ม สุกี้น้ำ เกี๊ยวน้ำ ส้มตำ เกาเหลา กระเพาะปลา ขนมจีนน้ำเงี้ยว ก๋วยเตี๋ยวน้ำใส ลาบหมูไม่ใส่เครื่องใน ต้มแซ่บกระดูกอ่อน แกงเห็ด ยำเห็ด ปลาดุกย่าง สลัดผัก สเต็กไก่ สเต็กปลาย่าง รวมไปถึงอาหารจานเดียวที่ไม่อมน้ำมัน ไม่ทอด ไม่ผัดแบบใช้น้ำมันเยอะ แป้งน้อย ไม่มีไขมันสัตว์เยอะ ไม่ใส่อาหารทะเลจัดเต็ม และไม่มีเครื่องในสัตว์ทุกชนิด ก็สามารถกินได้นะคะ

“ผักกูด”พืชตระกูลเฟิร์นยอดนิยม มีสารต้านอนุมูลอิสระ ปรุงสุกดูดซึมดีกว่า

ลดของทอด ของหวาน ของมัน และออกกำลังกายควบคู่

ข้อกำหนดการใช้

เปิดเมนูอาหารคนไขมันในเลือดสูง กินอะไรดีช่วยลดไขมัน

แน่นอนว่ายิ่งน้ำมันมะกอกวางอยู่บนเตาหรือในเตาอบนานเท่าไร ก็จะสูญเสียสารอาหารไปมากขึ้นเท่านั้น แต่จากผลการศึกษาล่าสุดเผยให้เห็นว่าไม่ได้หมายความว่าน้ำมะกอกจะทนความร้อนได้น้อยกว่าเมื่อเทียบกับน้ำมันชนิดอื่น

คำบรรยายภาพ, สมาคมภาคส่วนต่าง ๆ ชี้ว่าน้ำมันมะกอกที่ผลิตและบรรจุขวดในที่เดียวกันปลอดภัยกว่า

          ถั่ว เป็นแหล่งอาหารที่อุดมด้วยไฟเบอร์ชนิดละลายน้ำได้ ซึ่งเจ้าไฟเบอร์ชนิดนี้มีประโยชน์ต่อการลดระดับไขมันในเส้นเลือด นอกจากนี้ก็ยังช่วยในการลดน้ำหนักได้ เพราะการรับประทานถั่วจะช่วยให้อิ่มท้องได้นานขึ้น แถมเจ้าถั่วนี้ยังมีหลากหลายชนิดให้เลือก ไม่ว่าจะเป็น ถั่วแดง ถั่วดำ ถั่วเลนทิล เป็นต้น อยากรับประทานถั่วชนิดไหนก็เลือกได้ตามสะดวก

นอกจากนี้แล้ว การออกกำลังกายก็ยังมีผลดีต่อปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ ของโรคหัวใจและหลอดเลือดด้วยเช่นกัน อย่างเช่น ช่วยลดน้ำหนัก ลดความดัน กินอะไรช่วยลดไขมันในเลือด ลดความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ฯลฯ ผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยงเหล่านี้ร่วมด้วย จึงนับว่าควรได้รับการส่งเสริมให้ออกกำลังกายเป็นอย่างยิ่ง (ผู้ที่ปกติไม่ค่อยได้ออกกำลังกาย ก็ควรพิจารณาปรึกษาแพทย์ก่อน และก็ควรเริ่มทีละน้อย เพื่อให้ร่างกายสามารถปรับตัวได้)

“โรคไขมันในเลือดสูง” เป็นภาวะที่ร่างกายมีไขมันในเลือดสูงกว่าเกณฑ์ปกติ ส่วนใหญ่จะมีปัจจัยมาจากพฤติกรรมการใช้ชีวิตประจำวัน เเละการรับประทาน “อาหารที่มีไขมันสูง”โดยเฉพาะไขมันจากสัตว์ ส่งผลให้ระดับคอเลสเตอรอล หรือระดับไตรกลีเซอไรด์สูงได้อย่างใดอย่างหนึ่ง หรืออาจจะสูงพร้อมกันทั้งสองชนิด นอกจากนี้ หากในร่างกายมีการสะสมไขมันที่มีปริมาณสูงกว่าปกติ  ก็จะส่งผลให้หลอดเลือดตีบตัน โดยเฉพาะหลอดเลือดที่ไหลไปยังอวัยวะต่างๆของร่างกาย เเละมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิด“โรคหัวใจขาดเลือด”“สมองขาดเลือด” เเละอาจจะเป็น “อัมพฤกษ์ หรือ อัมพาต”ได้

Report this page